“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม4

การนำเสนอผลงาน “โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร”
กลุ่ม 4 : ชุมชนอุทิศอนุสรณ์ สน บางเขน

66-4 ชุมชนอนุทิศอนุสรณ์

66-4 บทความวิชาการ ชุมชนอุทิศอนุสรณ์ สน.บางเขน

“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม4 Read More »

“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม 3

การนำเสนอผลงาน “โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร”
กลุ่ม 3 : ชุมชนบางเลน ภายใต้การดูแลของ สภ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี

66-3 PPT ชุมชนบางเลน สภ.บางใหญ่ นนทบุรี

“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม 3 Read More »

“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม 2

การนำเสนอผลงาน “โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร”

กลุ่ม 2 : ชุมชนบ้านเกาะ ภายใต้การดูแลของ สภ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร

66-2 PPT ชุมชนบ้านเกาะ สภ.เมืองสมุทรสาคร

66-2 บทความวิชาการ ชุมชนบ้านเกาะ สภ.เมืองสมุทรสาคร

“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม 2 Read More »

“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม 1

การนำเสนอผลงาน “โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร”
กลุ่ม 1 :  ชุมชนซอยแสนสุข ในเขตพื้นที่การรับผิดชอบของ สน.ห้วยขวาง กรุงเทพฯ

66-1 PPT ชุมชนซอยแสนสุข 

66-1 บทความวิชาการ ชุมชนซอยแสนสุข สน.ห้วยขวาง

 

“โครงการชุมชนยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบครบวงจร” หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตำรวจ กลุ่ม 1 Read More »

💚 พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิตคือใคร ต้องมีคุณสมบัติ มีอำนาจหน้าที่ และมีการปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง ⁉

💚 พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิตคือใคร ต้องมีคุณสมบัติ มีอำนาจหน้าที่ และมีการปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง ⁉

📌 ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.oscc.consulting/media/180

💚 พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิตคือใคร ต้องมีคุณสมบัติ มีอำนาจหน้าที่ และมีการปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง ⁉ Read More »

“พบ 4 สารแห่งความสุข ที่อยู่ในตัวเราทุกคน”

“พบ 4 สารแห่งความสุข
ที่อยู่ในตัวเราทุกคน”

ทุกวันนี้เรายังไม่มีความสุข.. เพราะเรายัง “ไม่เข้าใจ”

ความสุข ในสมองของมนุษย์ทุกคนมีสารสื่อประสาท (neurotransmitter) อยู่ 4 ชนิด ที่เมื่อหลั่งออกมาแล้ว จะทำให้รู้สึก “มีความสุข” คือ

1. โดพามีน (dopamine) หลั่งเมื่อได้รับ…สุข “สำเร็จ”

2. ออกซิโทซิน (oxytocin) หลั่งเมื่อได้ให้…สุข “สัมพันธ์”

3. เซโรโทนิน (serotonin) หลั่งเมื่อใจสงบ…สุข “สงบ”

4. เอ็นดอร์ฟิน (endorphin) หลั่งเมื่อใจร่าเริง…สุข
“สำราญ”

สารแห่งความสุขทั้ง 4 ตัวนี้ ที่มีอยู่ในร่างกาย จะทำงานร่วมกันเสมอโดยอธิบายย่อดังนี้

1. โดพามีน (สารสำเร็จ ‘เมื่อได้รับ’) จะพรั่งพรูมาก เมื่อเราได้รับในสิ่งที่ต้องการ

2. ออกซิโทซิน (สารสัมพันธ์ ‘เมื่อได้ให้’) จะพรั่งพรูออกมามากเมื่อเรามีความรัก ความเมตตา กรุณา จะทำให้เรารู้สึกสบายใจ ปลอดภัย และอบอุ่น

3. เซโรโทนิน (สารสงบ ‘เมื่อจิตสงบ’) จะพรั่งพรูออกมามากเมื่อเรารู้สึกสงบ สบาย ผ่อนคลาย

4. เอ็นดอร์ฟิน (สารสำราญ ‘เมื่อใจร่าเริง เบิกบาน’) จะพรั่งพรูออกมาทุก ๆ ครั้งที่เรากำลังรู้สึกมีความสุข อารมณ์ดี ดังนั้น สารเอ็นดอร์ฟิน จะหลั่งออกมามากมายเป็นพิเศษ ตอนที่เรากำลังออกกำลังกาย หัวเราะ หรือยิ้ม และทำหน้าที่เป็นยาแก้ปวดจากธรรมชาติ

เราทุกคนจึงมีความสุขซุกซ่อนอยู่ตลอดเวลา แต่อยู่ที่ว่า เราจะ “รู้วิธี” สังเคราะห์ขึ้นมาได้หรือเปล่า…

ในการสังเคราะห์ความสุข คือ เริ่ม “ขอบคุณในสิ่งที่มี” และ “ยินดีในสิ่งที่ได้”

การลองมอง 2 ข้างทางเพื่อเก็บเกี่ยวความสุข.. ก็ไม่ได้แปลว่าเราจะต้องหยุดเดินเสียหน่อย จริงไหม??

แต่ถ้าถามว่าในโลกนี้จะมีใครสอนวิชา “สังเคราะห์ความสุข” อย่างจริงจังให้กับเราได้บ้าง ก็เห็นจะมีปรมาจารย์ ท่านทรงเป็นผู้รู้ ที่เรารู้จักกันอย่างกว้างขวางในนาม”พระพุทธเจ้า”

และถ้าเราอยากพบท่าน ก็ไม่ต้องเดินทางไปไกลถึงอินเดีย หรือเสียตังค์ซื้อเครื่องย้อนเวลานะ เพราะปรมาจารย์ท่านนี้ ท่านตรัสสอนลูกศิษย์เอาไว้ประโยคหนึ่งว่า

“โย ธมฺมํ ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ”
(ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา)

“พบ 4 สารแห่งความสุข ที่อยู่ในตัวเราทุกคน” Read More »

พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ โดย ดร.สันติ ผิวทองคำ

 

พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ โดย ดร.สันติ ผิวทองคำ

A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0001
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0002
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0003
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0004
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0005
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0006
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0007
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0008
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0009
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0010
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0011
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0012
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0013
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0014
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0015
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0016
A. พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ by ดร.ท่านติ_page-0017
previous arrow
next arrow
Shadow

พรบ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ฉบับภาพ โดย ดร.สันติ ผิวทองคำ Read More »

ความรู้เกี่ยวกับ”กัญชา”

กัญชา คืออะไร “กัญชา” เป็นพืชล้มลุกจำพวกหญ้า ต้นสูงประมาณ2-4ฟุต ใบแตกเป็นแฉกคล้ายใบสัมปะหลังหรือใบละหุ่ง ริมใบทุกแฉกมีลักษณะเป็นจัก ใบหนึ่งมีราว5-8แฉก ในก้านเดียวกัน ออกดอกตามง่าม กิ่ง ก้าน พืชกัญชามีสารเคมีจำพวก ซีบีดี (Cannabidiol (CDB)) ที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายสารเคมีดังกล่าวจะแทรกซึมเข้าสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็วภายใน 2-3นาที

ความรู้เกี่ยวกับกัญชา

ความรู้เกี่ยวกับ”กัญชา” Read More »

ความรู้เกี่ยวกับ “ยาเสพติด”

ยาเสพติดให้โทษคือ สารเคมี พืช หรือวัตถุชนิดใดๆ เมื่อเสพแล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้น มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง. . .

ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด

ความรู้เกี่ยวกับ “ยาเสพติด” Read More »

นตอนการตรวจสารเสพติดในเส้นผม

วีดิทัศน์ขั้นตอนการตรวจสารเสพติดในเส้นผม และ ตัวอย่างรายงานผลการตรวจพิสูจน์สารเสพติดในเส้นผม

วีดิทัศน์ขั้นตอนการตรวจสารเสพติดในเส้นผม และ ตัวอย่างรายงานผลการตรวจพิสูจน์สารเสพติดในเส้นผม Read More »